เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

นักเรียนเข้า ใจในสิ่งที่เรียนรู้ และสามารถถ่ายทอดความเข้าใจผ่านงาน Animation ได้อย่างสร้างสรรค์

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main


Mind Mapping




Web เชื่อมโยง



คำถามหลัก(Big Question) : นักเรียนจะสร้างสรรค์งาน Animation ได้อย่างไร ?
ภูมิหลังของปัญหา :   ในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารต่างๆ มีความเจริญก้าวหน้า และพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว มีส่วนทำให้วิถีความเป็นอยู่ของมนุษย์ในปัจจุบันสะดวกสบายมากขึ้น การใช้สื่อเทคโนโลยีจำนวนมากในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นต่างๆ ทำให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่าย และรวดเร็วกว่าในอดีต ส่งผลให้การทำกิจกรรมหลายสิ่งหลายอย่างร่วมกันง่ายขึ้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการศึกษา  ด้านการสาธารณสุข ด้านการคมนาคม ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม ฯ ถึงแม้เทคโนโลยีจะมีประโยชน์มากมายเพียงใด หากใช้ไม่ถูกวิธี และใช้แบบไม่สร้างสรรค์ ก็สามารถส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาได้ เช่น ความแตกแยกในสังคม สถาบันครอบครัว และการละเมิดสิทธิของผู้อื่น จากปัญหาดังกล่าวพี่ๆ ป.4 ควรที่จะได้เรียนรู้วิธีการรับสื่ออย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์สื่อผ่านงาน Animation ได้
เป้าหมายของความเข้าใจ(Understanding Goal): นักเรียนเข้า ใจในสิ่งที่เรียนรู้ และสามารถถ่ายทอดความเข้าใจผ่านงาน Animation ได้อย่างสร้างสรรค์




ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย: Animation ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 / 2558 Quarter 3
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพฯ
ศิลปะ
สุขศึกษา
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษา รวมทั้งปัญหาที่อยากแก้ไขตามความสนใจ
(8.1  .4/1)
- วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า  เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้า ( 8.1 .4/2)
- สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไข
 ( 8.1 .4/5)
- เข้าใจและสามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นนำเสนอและให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่ตนเองสนใจได้
 (8.1 .4/6)
- นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหา สิ่งที่อยากเรียนรู้ปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(8.1 .4/8)
มาตรฐาน ส 2.1
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรม
 (2.1 .4/2)
- เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างการเรียน การทำกิจกรรมและชีวิตประจำวันและสามารถปฏิบัติได้
(2.1 .4/5)

จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนับช่วงเวลาเป็นศตวรรษและสหัสวรรษ และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส4.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของมนุษย์กับปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต(ส4.1 ป.4/2)
มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(1.1 .4/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
 (1.1 .4/4)

มาตรฐาน ศ1.1
-สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ ผ่านการวาดตกแต่งผลงาน
(1.1.4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างสรรค์ งานวาดภาพระบายสี
( 1.1 .4/5)

มาตรฐาน พ 2.1
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพื่อนทั้งชายและหญิงขณะทำกิจกรรมและเรียนรู้อย่างเหมาะสม
 (2.1 .4/2)
มาตรฐาน พ4.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายสภาวะอารมณ์ของคนที่อยู่ในยุคสมัยต่างๆที่มีผลต่อการดำรงชีวิตจากการทำแอนนิเมชันในยุคต่างๆ (พ 4.1 ป.4/2)

ความหมายความสำคัญ
ประวัติความเป็นมาของ แอนิเมชัน
มาตรฐาน ว8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องหรือสถานการณ์เกี่ยวกับแอนิเมชันที่สนใจในปัจจุบัน (8.1ป.4/1 )
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้ารวมทั้งคาดการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่พบจากการเรียนรู้สังเกตแอนิเมชันแบบต่างๆ(8.1ป.4/2 )
- เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการศึกษาแอนิเมชัน(8.1ป.4/3 )
- บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความสำคัญของแอนิเมชันและนำเสนอในรูปแบบผลของชิ้นงาน การศึกษาค้นคว้าและทดลองทำ(8.1ป.4/4 )
- เข้าใจและสามารถสร้างคำถามใหม่เพื่อการศึกษาค้นคว้าและทดลองทำเพื่อการพัฒนาผลงานต่อไป(8.1ป.4/5 )
- เข้าใจและสามารถสรุปเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญของแอนิเมชัน
(8.1ป.4/6 )
- เข้าในและสามารถบันทึกเกี่ยวกับความหมายความสำคัญของแอนิเมชันอย่างตรงไปตรงมา
(8.1ป.4/6 )
- สามารถนำเสนอผลงานและอธิบายกระบวนการทำงานและชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.1ป.4/7 )
มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรมและอยู่ร่วมกัน (ส 1.1ป.4/3)
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่ตนนับถือเพื่อการทำกรรมและนำไปปรับใช้ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 1.1ป.4/7)
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาท สามารถทำงาน รวมกิจกรรมรวมทั้งอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
(ส 2.1ป.4/2)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันผ่านการทำชิ้นงานแอนิเมชัน
(ส 4.2ป.4/1)
-เข้าใจและสามารถอธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติรวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อการทำแอนิเมชันต่อสังคมไทยได้
(ส 4.2ป.4/1)

มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
 (1.1 .4/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(1.1 .4/4)


มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
 (ศ1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ1.1 ป.4/2)
- เข้าใจและสามารถจำแนกทัศนธาตุในศิลปะโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติและนำมาวาดภาพได้
(ศ1.1 ป.4/3)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะ(ศ1.1 ป.4/4-5)
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในผลงานได้
(ศ1.1 ป.4/9)
มาตรฐาน พ 2.1
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1 ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1 ป.4/2)
- สามารถอธิบายและบอกวิธีการดำรงชีวิตในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อตนเองผ่านการทำชิ้นงาน Flipbook ได้
(พ 5.1 ป.4/3)

ประเภทของแอนิเมชัน
- Draw Animation
- Stop motion
- Computer Animation

มาตรฐาน ว 8.1
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้ารวมทั้งคาดการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่พบจากการเรียนรู้สังเกตแอนิเมชันแบบต่างๆ (8.1ป.4/2 )
- เลือกอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการศึกษาแอนิเมชัน (8.1ป.4/3 )
- บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความสำคัญของแอนิเมชันและนำเสนอในรูปแบบผลของชิ้นงานที่หลากหลาย ผ่านการศึกษาค้นคว้าและทดลองทำ (8.1ป.4/4 )
- เข้าใจและสามารถสร้างคำถามใหม่เพื่อการศึกษาค้นคว้าและทดลองทำเพื่อการพัฒนาผลงานแอนิเมชันต่อไป
 (8.1ป.4/5 )
- เข้าใจและสามารถสรุปเกี่ยวกับแอนิเมชันแต่ละประเภทได้ (8.1ป.4/6 )
- เข้าในและสามารถบันทึกเกี่ยวกับประเภทของแอนิเมชันอย่างตรงไปตรงมา
(8.1ป.4/6 )
- สามารถนำเสนอผลงานและอธิบายกระบวนการทำงานและชิ้นงานแอนิเมชันแต่ละประเภทให้ผู้อื่นเข้าใจได้(8.1ป.4/7 )
มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรม (ส 1.1ป.4/3)
- ชื่นชมการทำสิ่งที่ดีของตนเองเห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่นพร้อมทั้งนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(ส 1.1ป.4/5)
มาตรฐาน ส 3.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายบทบาทของผู้ผลิตแอนิเมชันที่ดี มีความรับผิดชอบ (ส 3.1ป.6/1)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายเหตุผลในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย รวมทั้งนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเองได้ (ง 1.1 ป. 4/1)
- เข้าใจกระบวนการทำงานแอนิเมชัน ทำงานบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ด้วยความขยัน อดทน รับผิดชอบและซื่อสัตย์ (ง 1.1 ป. 4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มขณะทำงาน(ง 1.1 ป. 4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง 1.1 ป. 4/4)

มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนที่ดีรวมทั้งสามารถปฏิบัติตนเป็นเพื่อน เป็นสมาชิกครอบครัว สมาชิกของสังคมและของโลกที่ดี
(พ 2.1ป.4/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมระหว่างการทำงานและการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
(พ 2.1ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งระหว่างการทำงานร่วมกันได้อย่างมีเหตุมีผล(พ 2.1ป.5/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานสองและสามมิติ
(ศ1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ1.1 ป.4/2)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะและการออกแบบ (ศ1.1 ป.4/4-5)
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในผลงานแอนิเมชันได้
(ศ1.1 ป.4/9)
มาตรฐาน ส 4.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติรวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อการทำแอนิเมชันต่อสังคมไทยได้
(ส 4.2ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายอิทธิพลและสภาพทางเศรษฐกิจของต่างชาติต่อการเข้ามาของแอนิเมชัน
(ส 4.2ป.5/1)

- การตัดต่อแอนนิเมชัน
- ประโยชน์ของแอนิเมชัน
- ข้อดี ข้อเสียของแอนิเมชัน
- กฎหมายไอที
- บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์และข้อเสียของแอนิเมชันและนำเสนอในรูปแบบผลของชิ้นงานที่หลากหลาย ผ่านการศึกษาค้นคว้าและทดลองทำ
(8.1ป.4/4 )
- เข้าใจและสามารถสร้างคำถามใหม่เพื่อการศึกษาค้นคว้าและทดลองทำเพื่อการพัฒนาผลงานแอนิเมชันต่อไปอย่างมีความรับผิดชอบ (8.1ป.4/5 )
- เข้าใจและสามารถสรุปเกี่ยวกับประโยชน์และข้อเสียของแอนิเมชันได้
 (8.1ป.4/6 )
- เข้าในและสามารถบันทึกเกี่ยวกับประโยชน์และข้อเสียของแอนิเมชันอย่างตรงไปตรงมา (8.1ป.4/6 )
- สามารถนำเสนอผลงานและอธิบายกระบวนการทำงานและชิ้นงานแอนิเมชันแต่ละประเภทให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(8.1ป.4/7 )
มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรมและอยู่ร่วมกัน
 (ส 1.1ป.4/3)
มาตรฐาน ส 3.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายบทบาทของผู้ผลิตแอนิเมชันที่ดี มีความรับผิดชอบ (ส 3.1 ป.6/1)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันผ่านการทำชิ้นงานแอนิเมชัน
(ส 4.2ป.4/1)
-เข้าใจและสามารถอธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติรวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อการทำแอนิเมชันต่อสังคมไทยในแง่มุมต่างๆได้(ส 4.2ป.4/1)

มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายเหตุผลในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย รวมทั้งนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเองได้ (ง 1.1 ป. 4/1)
- เข้าใจกระบวนการทำงานแอนิเมชัน ทำงานบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ด้วยความขยัน อดทน รับผิดชอบและซื่อสัตย์ (ง 1.1 ป. 4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มขณะทำงาน(ง 1.1 ป. 4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ง 1.1 ป. 4/4)
มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานสองและสามมิติ
(ศ1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ1.1 ป.4/2)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะและการออกแบบ (ศ1.1 ป.4/4-5)
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในผลงานแอนิเมชันได้(ศ1.1 ป.4/9)
มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนที่ดีรวมทั้งสามารถปฏิบัติตนเป็นเพื่อน เป็นสมาชิกครอบครัว สมาชิกของสังคมและของโลกที่ดี
 (พ 2.1ป.4/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมระหว่างการทำงานและการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
(พ 2.1ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งระหว่างการทำงานร่วมกันได้อย่างมีเหตุมีผล(พ 2.1ป.5/3)

 การสรุปองค์ความรู้
- จัดนิทรรศการ Animation
 - สิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน

มาตรฐาน ว 8.1
-  วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาการทำแอนนิเมชันในโลกปัจจุบัน และนำไปใช้แก้ปัญหาในสังคมโลกอนาคต
(ว 8.1 .4/9)
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ว 8.1 .6/8)
มาตรฐาน ส 3.1
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน (ส 3.1 ป.5/2)
- บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
(ส 3.1 ป.6/3)
มาตรฐาน ส 3.2
- อธิบายความสัมพันธ์ของการทำแอนนิเมชันที่มีผลต่อเศรษฐกิจของคนในชุมชน(ส 3.2 ป.4/1)
มาตรฐาน ส 5.2
- วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค  (ส 5.2 ป.5/1)
- นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการทำงานเกี่ยวกับแอนนิเมชันและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่
(ส 5.2 ป.5/3)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1 .4/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน (3.2 .4/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1 .4/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง (5.1 .4/10)
มาตรฐาน ส 4.1
-เข้าใจและสามารถนับช่วงเวลาเป็นศตวรรษและสหัสวรรษ และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
(ส4.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของแอนนิเมชันและเทคโนโลยีการทำและนำไปใช้ในการวางแผนการเรียนรู้ได้
(ส4.1 ป.4/2)
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ (ง 1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง 2.1 ป.5/1)
- นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปใช้ประยุกต์สร้างสิ่งของเครื่องใช้ทางการแอนนิเมชัน (ง 2.1 ป.5/3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ (ง 2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถค้นหารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ประเภท ของการทำแอนนิเมชันจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์  (ง 3.1 ป.5/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์ภาพระบายสีเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้หลังเรียนโครงงาน
(ศ 1.1 ป.4/4)
- วาดภาพระบายสีโดยใช้สีวรรณะอุ่นและเย็นถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
 (ศ 1.1 ป.4/7)
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยี
การตัดต่แอนนิเมชัน
(ศ 3.1 ม.1/3)
- เชื่อมโยงระหว่างดนตรีนาฏศิลป์ การละครกับสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีการทำตัดต่อแอนนิเมชัน (ศ 2.1 ม.2/5)
มาตรฐาน พ 2.1
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1 ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1ป.4/2)
มาตรฐาน พ 3.1
- สามารถใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แสดงท่าทางบทบาทสมมุติเพื่อสื่อสาร หรือถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(พ3.1ป.5/1)







ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL หน่วย: Animation
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 (Quarter 3) ปีการศึกษา 2559
เป้าหมายรายสัปดาห์: เข้าใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบายพร้อมกับตั้งคำถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
25-29
ต.ค.2559
โจทย์ : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Question :
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
เครื่องมือคิด 
- Round Robin
-
Card and Chart
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ

- ครูสร้างแรงโดยการนำคลิปวีดีโอ Animation ของพี่ป.5 มาให้นักเรียนดู
นักเรียนถอดบทเรียนจากคลิปวีดีโอของพี่ๆร่วมกันแลกเปลี่ยนร่วมกัน
“นักเรียนเห็นอะไรบ้าง”
“ได้เรียนรู้อะไรบ้างจากคลิปวีดีโอที่ดู”
- เชิญวิทยากรจากพี่มัธยมมาให้คำแนะนำเกี่ยวกับการวาดภาพการ์ตูนสื่ออารมณ์ พร้อมกับฝึกวาด และออกแบบตัวการ์ตูนที่เป็นของตัวเอง
- ครูเปิดคลิปวีดีโอการทำ
Flip book นักเรียนดู แล้วถอดบทเรียนจากคลิปวีดีโอร่วมกัน
- นักเรียนลองทำ Flip book ของตนเองตามจินตนาการ
- ครูตั้งคำถามกับนักเรียน “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น”- นักเรียนเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด
Card and Chart
- นักเรียนตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด
Blackboard Share
- นักเรียนสรุปความเข้าใจรายสัปดาห์ที่
1

ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- ถอดบทเรียนจากคลิปวีดีโอ
- ชื่อหน่วยพร้อมภาพประกอบ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
1

ความรู้
เข้าใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบาย พร้อมกับตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ และเลือก
สิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย





เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
Week
Input
Process
Output
Outcome
2
31 ต.ค.
-
4 ..
2559
โจทย์ : ออกแบบ/วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย Animation
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย
Animation
- นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน การเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด 
- Blackboard Share
-
Mind Mapping 
-
Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
:นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย Animation
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับหน่วย
Animation : นักเรียนจะสรุปสิ่งที่รู้แล้วทั้งหมดของตนเองอย่างไร
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนเป็นรายบุคคลผ่านเครื่องมือคิด (
Mind Mapping)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
: นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย Animation
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
: นักเรียนจะออกแบบและวางแผนกิจกรรมจากสิ่งที่อยากเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้
10 สัปดาห์ร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
ภาระงาน
-  แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
-  ช่วยกันเพื่อออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ร่วมกัน
- การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ชิ้นงาน
-  สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
ทำปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2

ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างของ Animation ทั้งสามรูปแบบได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
3
7-11
พ.ย.2559
โจทย์ : ชนิดของ Animation
-
Drawn Animation
- Stop Motion
- Computer Animation
Key Question:
Animation ทั้งสามรูปแบบเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

เครื่องมือคิด
 
- Round Robin
- Blackboard Share
- Show and Share 
- Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครอบครัว
- อินเตอร์เน็ต



- ครูให้นักเรียนเรียนรู้ Animation ทั้ง 3 รูปแบบจากคลิปวีดีโอ และถอดบทเรียนแต่ละคลิปร่วมกัน
1. Drawn Animation จากคลิปวีดีโอ นิทานเรื่อง "พ่อ" [By ปลื้ม] (Ep.14)
2. Stop Motion จากคลิปวีดีโอเรื่อง นายเขียวนายแดง
3. Computer Animation จากคลิปวีดีโอ Rargo แรงโก้ฮีโร่ทะเลทราย (2 นาที)
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากคลิปวีดีโอ นักเรียนถอดบทเรียนจากคลิปวีดีโอที่ดูร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้น “
Animation ทั้งสามรูปแบบเหมือนหรือต่างกันอย่างไร”
- นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับ
Animation ทั้งสามรูปแบบ
- ครูให้นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มเป็น
5 กลุ่ม เพื่อทำงานร่วมกันในการสร้าง Animation
- แต่ละกลุ่มค้นหาข้อมูลที่จำเป็นในการสร้าง
Animation แล้วสรุปเป็นองค์ความรู้ที่จะใช้ในงานต่อไป
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
3

ภาระงาน
- ถอดบทเรียนจากAnimation ทั้งสามรูปแบบ
- สืบค้นข้อมูลในการสร้าง
Animation โดยใช้ iPad
- ขมวดองค์ความรู้ที่ได้สืบค้นมาสรุปเป็นชิ้นงานที่สามารถถ่ายทอดความเข้าใจของตนเองสู่ผู้อื่นได้

ชิ้นงาน
- สรุปกฎและหลักการสร้าง
Animation
-  สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับ
Animation ทั้งสามรูปแบบ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
3
ความรู้
นักเรียนเข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างของ Animation ทั้งสามรูปแบบได้
 
ทักษะ
 :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจกระบวนการสร้างและนำเสนองาน Animationในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ รวมทั้งสามารถออกแบบวางแผนสร้างสรรค์ งาน Animation ได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
4
14-18
..
2559
โจทย์ : กระบวนการสร้างงาน Animation
Key  Question
นักเรียนจะนำเสนองาน Animation อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้ ?
เครื่องมือคิด :
- Round Robin  ศึกษาข้อมูล วางแผน และแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานในการสร้างงาน Animationในรูปแบบตามที่กลุ่มตนเองสนใจ
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- คลิปวีดีโอเกี่ยวกับงานAnimationประเภทต่างๆ  ( Draw Animation , Stop Motion, Computer Animation )
- ภาพการ์ตูน(สื่ออารมณ์ต่างๆ)
- กล้องถ่ายรูป
- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอเกี่ยวกับงานแอนิเมชันประเภทต่างๆ
 ( Draw Animation , Stop Motion
Computer Animation )
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
งานแอนิเมชันแต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนจะสามารถจัดประเภทของคลิปวีดีโองานAnimation ที่ได้ดูนั้นอย่างไร ? ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนคิดว่าถ้าเราต้องการสร้างงาน Animation
 เราต้องเข้าใจและเรียนรู้อะไรบ้าง ?
- นักเรียนนำเสนอองค์ความรู้ที่สืบค้นมาจากสัปดาห์ที่แล้วร่วมกัน
- แบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มเพื่อสร้างสรรค์งานAnimation ตามความสนใจ โดยใช้นิทานของโรงเรียน
( Draw Animation  , Stop Motion และ Computer )
- นักเรียนออกแบบ Story Board  ร่วมกันเป็นกลุ่มตามนิทานที่ได้รับ
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4



ภาระงาน
- ศึกษาข้อมูล วางแผน และแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานในการสร้างงาน Animationในรูปแบบตามที่กลุ่มตนเองสนใจ
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
- การถ่ายภาพ
ชิ้นงาน
- Mind Mapping  กระบวนการสร้างAnimation
-  สรุปสิ่งที่ได้จากการดูคลิปวีดีโอ
ทำขั้นตอนการสร้างAnimation
- Story Board  งาน Animation
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4

ความรู้:
เข้าใจกระบวนการสร้างและนำเสนองาน Animationในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ รวมทั้งสามารถออกแบบวางแผนสร้างสรรค์ งาน Animation ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจกระบวนทำAnimation และสามารถวางแผนสร้างสรรค์งาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
5
21-25
..
2559
โจทย์ : การตัดต่อ Animation
(Draw Animation, Stop Motion , Computer Animation)
Key  Question
 นักเรียนจะตัดต่องาน  Draw  Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือโปรแกรมต่างๆในการสร้างและตัดต่อAnimation
- Round Robin  รายงานความคืบหน้าของการทำงานการตัดต่อ Animation   รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงาน Animation ของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- Flow Chart สรุปกระบวนการสร้างงานAnimation ของแต่ละกลุ่ม
- Wall  Thinking : Story Board
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน Animation
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน              
- วิทยากร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- โปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น Photo shop, Corel Video    Studio 12

- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะตัดต่องาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนงานตาม  Story Board  ที่วางไว้ สร้างตัวละคร ออกแบบฉาก ออกแบบอุปกรณ์ประกอบฉาก ฯลฯ ศึกษาโปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น Photo shop, Corel Video    Studio 12
- ครูเชิญวิทยากรสาธิตและแนะนำเทคนิคการตัดต่อ (Draw Animation, Stop Motion , Computer Animation)ที่จะนำมาปรับใช้ในการสร้างงาน Animation
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการตัดต่องาน Animation
- สร้างตัวละคร ออกแบบฉาก ออกแบบอุปกรณ์ประกอบฉาก ฯลฯ ศึกษาโปรแกรมตัดต่อต่างๆตาม Story Board ที่วางไว้
ชิ้นงาน
- งาน Animation
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5

ความรู้:
เข้าใจกระบวนทำAnimation และสามารถวางแผนสร้างสรรค์งาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจกระบวนทำAnimation และสามารถออกแบบวางแผนสร้างสรรค์งาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
6
28 ..
-
2 ..
2559
โจทย์: การตัดต่อ Animation(Ipad , Computer)
Key  Question
 นักเรียนจะตัดต่องาน Stop Motion  ให้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms  ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือโปรแกรมต่างๆในการสร้างและตัดต่อ Animation
- Round Robin รายงานความคืบหน้าของการทำงานการตัดต่อAnimation รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานAnimationของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- Flow Chart  สรุปกระบวนการสร้างงานAnimationของแต่ละกลุ่ม
- Wall  Thinking  Story Board
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานAnimation
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-วิทยากร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- โปรแกรมตัดต่อ เช่น open short

- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนงานตาม  Story Board ที่วางไว้ทำ สร้างตัวละคร ออกแบบฉาก ออกแบบอุปกรณ์ประกอบฉาก ฯลฯ ต่อจากสัปดาห์ที่ 5

- นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือตัดต่องาน Animationตามที่วางแผนงานไว้โดยมีคุณครูคอยให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อต่างๆ

- ครูเชิญวิทยากรสาธิตและแนะนำเทคนิคการตัดต่อเพิ่มเติมเพื่อที่จะนำมาปรับใช้ในการสร้างงานAnimation
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือตัดต่องาน Animation
ตามที่วางแผนงานไว้จนเสร็จสมบูรณ์
- นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าของการ
ทำงานการตัดต่อ Animation  รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
 - ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานAnimation ที่ตัดต่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงาน Animation ของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเขียนสรุปกระบวนการสร้างงาน  Animation  ของกลุ่มตนเองในรูปแบบ
Flow Chart
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6  

ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- สร้างตัวละคร ออกแบบฉาก ออกแบบอุปกรณ์ประกอบฉาก ฯลฯ ศึกษาโปรแกรมตัดต่อต่างๆตาม
Story Board ที่วางไว้
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- งาน Animation
- Flow Chart สรุปกระบวนการสร้างงานAnimationของแต่ละกลุ่ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6  

ความรู้:
เข้าใจกระบวนทำAnimation และสามารถออกแบบวางแผนสร้างสรรค์งาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจกระบวนทำงานและสามารถสร้างสรรค์งาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
7
5-9
..
2559
โจทย์ : การตัดต่อ Animation
Key  Question
 นักเรียนจะตัดต่องาน  Computer Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms  ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือโปรแกรมต่างๆในการสร้างและตัดต่อ Animation
- Round Robin รายงานความคืบหน้าของการทำงานการตัดต่อAnimation  รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงาน Animation ของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- Flow Chart  สรุปกระบวนการสร้างงาน Animation ของแต่ละกลุ่ม
- Wall  Thinking   Story Board
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน Animation
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
 -  วิทยากร
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- โปรแกรมตัดต่อ เช่น Open short


- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเชิญวิทยากรสาธิตและแนะนำเทคนิคการตัดต่อเพิ่มเติมเพื่อที่จะนำมาปรับใช้ในการสร้างงาน Animation ต่อจากสัปดาห์ที่ 6
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนองานการตัดต่อ Animation ที่เสร็จสมบูรณ์  รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานกลุ่ม
- นักเรียนแต่ละคู่นำเสนองาน Animation ที่
เสร็จสมบูรณ์ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
- นักเรียนแต่ละคู่ลงมือตัดต่องาน Animation ที่วางแผน Story board ไว้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำเสนอรูปแบบ Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการทำ  Animation
-  นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการทำ Animation ในรูปแบบ Flow Chart
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-  นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7

ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- สร้างตัวละคร ออกแบบฉาก ออกแบบอุปกรณ์ประกอบฉาก ฯลฯ ศึกษาโปรแกรมตัดต่อต่างๆตาม Story Board  ที่วางไว้
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- งาน  Animation
- Flow Chart ขั้นตอนการทำ Animation
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7

ความรู้ :
เข้าใจกระบวนทำงานและสามารถสร้างสรรค์งาน Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ :นักเรียนสามารถเข้าใจและสามารถสร้างสรรค์การออกแบบโปสเตอร์ Animationให้น่าสนใจและน่าติดตาม รวมทั้งสามารถเผยแพร่ Animation สร้างสรรค์ให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ร่วมได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
8
12-16
ธ.ค.
2559
โจทย์ : ฉาย Animation
Key  Questions :
- นักเรียนจะมีวิธีการเผยแพร่Animation อย่างไรให้น่าสนใจและน่าติดตาม
เครื่องมือคิด
 Round Robin 
Show and Share
Brainstorms

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
   
- โปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น
 Sony Vegas Pro ,Premiere  Pro
- บรรยากาศในห้องเรียน




ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มนำภาพที่นักเรียนตัดต่อเสร็จแล้วมาดู พร้อมกับแนะนำและทำการแก้ไขฉากนั้นเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเขียนสรุปกระบวนการสร้าง Animation ของกลุ่มตนเองในรูปแบบ
Flow Chart  พร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะมีวิธีการเผยแพร่ Animation อย่างไรให้น่าสนใจและน่าติดตาม”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบทำโปสเตอร์ Animation
เพื่อเชิญชวนผู้ชมมาดูในวันเปิดบ้าน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มฉาย Animation กลุ่มของตัวเองให้ครุและเพื่อนๆได้ดูอีกครั้งหลังปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมภายในห้องเรียน
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
ภาระงาน
ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวเกี่ยวกับการแก้ปัญหาร่วมกัน
- ครูและนักเรียนพูดคุยเรื่องการออกแบบโปสเตอร์ Animation

ชิ้นงาน
- Animation
- โปสเตอร์ Animation

ความรู้:   นักเรียนสามารถเข้าใจและสามารถสร้างสรรค์การออกแบบโปสเตอร์ Animation
ให้น่าสนใจและน่าติดตาม รวมทั้งสามารถเผยแพร่ Animation สร้างสรรค์ให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ร่วมได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ และกฎหมายไอที ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างงาน Animation โดยไม่ละเมิดและเคารพสิทธิของผู้อื่นได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
9
19-23
ธ.ค.
2559
จทย์ :
- การใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์
- กฎหมาย IT
Key  Questions
- ทำไมต้องสร้างการ์ตูน  Animation  ถ้า Copy จะเกิดผลอย่างไร ?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms  ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมายไอที กับงาน  Animation
- Flow Chart  เกี่ยวกับกฎหมายไอที
- Wall  Thinking  Story Board
- Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน Animation
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- วิทยากร
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเตอร์เน็ต

- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “gbot จอมโจรในโลกไซเบอร์” และ “การ์ตูนกฎหมายไอที”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมต้องรู้กฎหมายไอที ?
ครูใช้ถามกระตุ้นการคิด“ทำไมต้องสร้างการ์ตูนแอนนิเมชัน ?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากดูคลิปวีดีโอ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองเห็นในคลิปวีดีโอ
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ Animation ในสังคมโลกปัจจุบันจะส่งให้งานแอนิเมชันในอนาคตเป็นอย่างไร”
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายไอทีกับการสร้างงาน Animation ในชีวิตประจำวัน

ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- งาน Animation
- Flow Chart
เกี่ยวกับกฎหมายไอที
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9  

ความรู้:
เข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ และกฎหมายไอที ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างงาน Animation โดยไม่ละเมิดและเคารพสิทธิของผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ Animation เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
10
26-30
ธ.ค.
2559
โจทย์ :
- นิทรรศการงาน Animation
- การแสดงละคร
Key  Question
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับ Animation ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผย แพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย “ Animation ”
- Round Robin  :  การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
- Mind Mapping :  หลังการเรียนรู้
- Show and Share : นำเสนอการประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว และอะไรที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วย “ Animation  ”
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ศึกษาผ่านมาเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ใน Quarter นี้ให้ผู้อื่นเรียนรู้ร่วมได้อย่างไร?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
-ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน หน่วยการเรียนรู้ใน Quarter นี้
-  นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงานAnimation
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว และอะไรที่ต้องพัฒนา
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์นี้ร่วมกัน
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนในสัปดาห์นี้ ผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin 

ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ใน Quarter นี้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
- การวางแผนการแสดงละคร/ร้องเพลง
ชิ้นงาน
ชาร์ตความรู้นิทรรศการงาน Animation

ความรู้:
สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ Animation เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น